กลยุทธ์และการพัฒนาความยั่งยืน
ผลการดำเนินงานความยั่งยืน
-
มิติเศรษฐกิจ
-
ได้รับการจัดอันดับเครดิตองค์กรระดับ "AAA"
ต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 ตั้งแต่ปี 2561 – 2565
ร้อยละ 89.08
พนักงานเข้าร่วมอบรมหลักสูตรการสร้างความตระหนักด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ร้อยละ 89.08 ของพนักงานทั้งหมด และในจำนวนนี้เป็นผู้ที่ผ่านแบบทดสอบร้อยละ 96.83 จากผู้ที่เข้าอบรมทั้งหมดร้อยละ 94.625
พนักงานเข้าร่วมอบรมหลักสูตรการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Data Protection)ไม่พบเหตุการณ์ภัยคุกคามทางไซเบอร์ร้ายแรง ที่ส่งผลกระทบกับการดำเนินงานของ PEA
606,395.53 ล้านบาท
มูลค่าทางเศรษฐกิจทางตรง (Direct Economic Value Generated) 606,395.53 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.05 เมื่อเทียบกับปี 2564
603,801.94 ล้านบาท
มูลค่าทางเศรษฐกิจที่จำหน่ายออก (Economic value distributed) 603,801.94 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.76 เมื่อเทียบกับปี 2564
2,593.59 ล้านบาท
มูลค่าทางเศรษฐกิจสะสม (Economic value retained) 2,593.59 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 61.50 เมื่อเทียบกับปี 2564102 สถานี
เปิดให้บริการ PEA Volta Charging Station เชิงพาณิชย์2.29
ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ROA)31,387.04 ล้านบาท
ผลการบริหารค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน (CPI-X)1.99
อัตราส่วนการทำกำไร (Net profit margin)1.22
อัตราส่วนสภาพคล่อง (Current ratio)1.20
อัตราส่วนการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (Total Assets Turnover)0.21
ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัยมีอัตราการเติบโตต่ำกว่าค่าพยากรณ์ที่คาดการณ์ไว้ โดยมีส่วนต่างคิดเป็นร้อยละ 0.21 ของค่าพยากรณ์0.71
ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทกิจการขนาดกลางมีอัตราการเติบโตสูงกว่าค่าพยากรณ์ โดยมีส่วนต่างคิดเป็นร้อยละ 0.71 ของค่าพยากรณ์0.63
ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทกิจการขนาดใหญ่มีอัตราการเติบโตต่ำกว่าค่าพยากรณ์ โดยมีส่วนต่างคิดเป็นร้อยละ 0.63 ของค่าพยากรณ์0.80
เป้าหมายดัชนีจำนวนครั้งที่ไฟฟ้าขัดข้อง (SAIFI)0.74
ดัชนีจำนวนครั้งที่ไฟฟ้าขัดข้อง (SAIFI)14.95
เป้าหมายดัชนีระยะเวลาที่ไฟฟ้าขัดข้อง (SAIDI)14.54
ดัชนีระยะเวลาที่ไฟฟ้าขัดข้อง (SAIDI)6.17
เป้าหมายการสูญเสียพลังงานไฟฟ้ารวม (Total Loss)6.32
การสูญเสียพลังงานไฟฟ้ารวม (Total Loss) -
มิติสังคม
-
ร้อยละ 99.73
ครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้แล้ว 21,535,107 ครัวเรือน (เทียบกับจำนวนครัวเรือนทั้งหมดในประเทศ 21,593,074 ครัวเรือน) เข้าถึงระบบไฟฟ้ากว่าร้อยละ 99.73ร้อยละ 100
พนักงานที่ได้รับการดูแลภายใต้ข้อตกลงจากสหภาพแรงงานฯ ร้อยละ 1004.61
ระดับความพึงพอใจของพนักงานใหม่ที่มีต่อกระบวนการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร อยู่ที่ 4.61 จากคะแนนเต็ม 5 อยู่ในเกณฑ์ ระดับความพึงพอใจมากที่สุด4.56
ค่าเฉลี่ยความผูกพันของบุคลากร อยู่ที่ 4.56 จากคะแนนเต็ม 54.52
ค่าเฉลี่ยความอยู่ดีมีสุขของพนักงาน อยู่ที่ 4.52 จากคะแนนเต็ม 54.56
ระดับความรู้สึกภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร อยู่ที่ 4.56 จากคะแนนเต็ม 54.61
ระดับความอยากทุ่มเทกายใจในการทำงาน อยู่ที่ 4.61 จากคะแนนเต็ม 5ร้อยละ 0.22
อัตราการลาออกของพนักงานปี 2565 คิดเป็น ร้อยละ 0.22 เพิ่มขึ้นจากปี 2564 ร้อยละ 83.33ร้อยละ 8.90
อัตราการลาออกของลูกจ้างปี 2565 คิดเป็น ร้อยละ 8.90 ลดลงจากปี 2564 ร้อยละ 13.00ร้อยละ 0.80
การจ้างงานคนพิการต่อพนักงานทั้งหมด ร้อยละ 0.80ได้รับการรับรองมาตรฐาน TIS 18001
ครบทั้ง 12 หน่วยงาน0.0898
ค่าดัชนีการประสบอุบัติภัย (Disabling Injury Index: √DI) 0.0898 ลดลงจากปี 2564 ร้อยละ 46.002,142 คน
พนักงานและลูกจ้างฝึกอบรมเกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยโดยแบ่งเป็นหลักสูตรประเภทเทคนิควิศวกรรม และประเภทกฎหมายกำหนด จำนวน 2,142 คน คิดเป็น ร้อยละ 6.34 ของพนักงาน/ลูกจ้างทั้งหมด932 คน
โครงการชุมชนปลอดภัยใช้ไฟ PEA มีผู้เข้าร่วมรับฟังในรูปแบบ Online 932 คน และรูปแบบ Onsite จำนวน 400 คน14 คน
จำนวนพนักงานและลูกจ้างที่ได้บาดเจ็บและเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับงาน 14 คน ลดลงจากปี 2564 ร้อยละ 44.0064 คน
จำนวนลูกจ้างที่ไม่ใช่พนักงาน แต่งานและ/หรือสถานประกอบการถูกควบคุมโดยองค์กร/คนงานจ้างเหมาแรงงานที่ได้บาดเจ็บและเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับงาน 64 คน ลดลงจากปี 2564 ร้อยละ 15.79การไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับและ/หรือหลักปฏิบัติโดยสมัครใจเกี่ยวกับผลกระทบด้านสุขภาพและความปลอดภัย ของผลิตภัณฑ์และบริการภายในรอบระยะเวลารายงานจากระบบไฟฟ้าในปี 2565
จำนวนเหตุการณ์ที่ไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบส่งผลให้มีโทษปรับ 16 เหตุการณ์, จำนวนเหตุการณ์ที่ไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบส่งผลให้มีการตักเตือน 2 เหตุการณ์, ค่าใช้จ่ายในการชดเชย และค่ามนุษยธรรมทั้งหมด เท่ากับ 1,755,000 บาท0.0039
ค่าผลกระทบความไม่ปลอดภัยมีค่าเท่ากับ 0.0039 แบ่งออกเป็น สายไฟฟ้าขาด 5 ครั้ง, อุปกรณ์ไฟฟ้าระเบิด 2 ครั้ง, การลัดวงจรในระบบไฟฟ้า 1 ครั้ง -
มิติสิ่งแวดล้อม
-
139,668.53
tCO2eปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ขอบเขตที่ 1 (ปี 2566)5,152,966.95 tCO2e
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ขอบเขตที่ 2 (ปี 2566)15,560,002.88
tCO2eปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ขอบเขตที่ 3 (ปี 2566)เปรียบเทียบการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวมจากกิจกรรมหลักขององค์กร ในปี 2566
- การให้บริการของ PEA 102,000.84 tCO2e
- การใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในยานพาหนะ 94,748.96 tCO2e
- การผลิตไฟฟ้าของ PEA 36,847.51 tCO2e
- การบำรุงรักษาสถานีไฟฟ้าและระบบไฟฟ้า 4,701.40 tCO2e
- การผลิตและการใช้เสาไฟฟ้า 95.68 tCO2e
0.0355 tCO2e/kWh
อัตราส่วนความเข้มข้นของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของ PEA ในปี 2566
20,852,638.37 tCO2e
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปี 2566 รวม ขอบเขตที่ 1, 2 และ 3
ได้รับการจัดอันดับเครดิตองค์กรระดับ "AAA"
ต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 ตั้งแต่ปี 2561 – 2565
ร้อยละ 89.08
ร้อยละ 94.625
ไม่พบเหตุการณ์ภัยคุกคามทางไซเบอร์ร้ายแรง ที่ส่งผลกระทบกับการดำเนินงานของ PEA
606,395.53 ล้านบาท
มูลค่าทางเศรษฐกิจทางตรง (Direct Economic Value Generated) 606,395.53 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.05 เมื่อเทียบกับปี 2564
603,801.94 ล้านบาท
มูลค่าทางเศรษฐกิจที่จำหน่ายออก (Economic value distributed) 603,801.94 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.76 เมื่อเทียบกับปี 2564
2,593.59 ล้านบาท
102 สถานี
2.29
31,387.04 ล้านบาท
1.99
1.22
1.20
0.21
0.71
0.63
0.80
0.74
14.95
14.54
6.17
6.32
ร้อยละ 99.73
ร้อยละ 100
4.61
4.56
4.52
4.56
4.61
ร้อยละ 0.22
ร้อยละ 8.90
ร้อยละ 0.80
ได้รับการรับรองมาตรฐาน TIS 18001
0.0898
2,142 คน
932 คน
14 คน
64 คน
การไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับและ/หรือหลักปฏิบัติโดยสมัครใจเกี่ยวกับผลกระทบด้านสุขภาพและความปลอดภัย ของผลิตภัณฑ์และบริการภายในรอบระยะเวลารายงานจากระบบไฟฟ้าในปี 2565
0.0039
139,668.53
tCO2e
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ขอบเขตที่ 1 (ปี 2566)
5,152,966.95 tCO2e
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ขอบเขตที่ 2 (ปี 2566)
15,560,002.88
tCO2e
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ขอบเขตที่ 3 (ปี 2566)
เปรียบเทียบการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวมจากกิจกรรมหลักขององค์กร ในปี 2566
- การให้บริการของ PEA 102,000.84 tCO2e
- การใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในยานพาหนะ 94,748.96 tCO2e
- การผลิตไฟฟ้าของ PEA 36,847.51 tCO2e
- การบำรุงรักษาสถานีไฟฟ้าและระบบไฟฟ้า 4,701.40 tCO2e
- การผลิตและการใช้เสาไฟฟ้า 95.68 tCO2e
0.0355 tCO2e/kWh
อัตราส่วนความเข้มข้นของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของ PEA ในปี 2566
20,852,638.37 tCO2e
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปี 2566 รวม ขอบเขตที่ 1, 2 และ 3
ประเด็นที่มีนัยสำคัญด้านการพัฒนาความยั่งยืนของ PEA (Materiality)
นวัตกรรมและเทคโนโลยี
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ กฟภ. (Provincial Electricity Authority: PEA) ได้เริ่มมีการพัฒนาระบบการจัดการนวัตกรรมองค์กร (Corporate Innovation System, CIS) และมีจัดทำแผนแม่บทด้านนวัตกรรมปี 2566 - 2570
ความปลอดภัยทางไซเบอร์
ปัจจุบันเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการดำเนินชีวิตและธุรกิจ ซึ่งอาจจะส่งผลกระทบ ทั้งในเชิงบวก คือการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาอำนวยความสะดวกในการดำเนินธุรกิจ และผลกระทบในเชิงลบ คืออาจก่อให้เกิดภัยคุกคามทางไซเบอร์
การแข่งขันอย่างเสรี
จากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีด้านพลังงาน และการใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไปของประชาชนในปัจจุบัน จึงมีการผลักดันการปรับปรุงโครงสร้างกิจการไฟฟ้าตามแผนปฏิบัติประเทศด้านพลังงาน โดยมีเป้าหมายเพื่อปฏิรูปอุตสาหกรรมไฟฟ้าไปสู่รูปแบบการแข่งขัน
สิทธิมนุษยชน
1. กฟภ. ตระหนักถึงและเคารพในสิทธิมนุษยชนของพนักงาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจขององค์กรทั้งหมด ทั้งในด้านแนวคิดและมุมมองในประเด็นต่างๆ เช่น เชื้อชาติ สีผิว ศาสนา เพศ สัญชาติ อายุ ความทุพพลภาพ
การพัฒนาและการรักษาทรัพยากรมนุษย์
บุคลากรถือเป็นกุญแจสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานขององค์กร PEA จึงมุ่งมั่นดูแลพนักงานทุกคนอย่างเท่าเทียม ไม่เลือกปฏิบัติ โดยให้ความสำคัญตั้งแต่กระบวนการวางแผนกำลังคน และการสรรหาคัดเลือกบุคลากรด้วยความเท่าเทียม
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทํางาน
นอกจากความมุ่งมั่นในการดูแลพนักงานทุกคนอย่างเท่าเทียมและไม่เลือกปฏิบัติแล้ว PEA มุ่งเน้นการสร้างสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและเอื้อต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีและสร้างแรงบันดาลใจในการทำงานของพนักงาน
การคํานึงถึงสุขภาพและความปลอดภัยของลูกค้า
จากการมีผู้ใช้ไฟฟ้าประสบอันตรายจากการใช้ไฟฟ้าขององค์กรในอดีต PEAตระหนักถึง ความปลอดภัยของผู้ใช้ไฟฟ้าว่าเป็นสิ่งสำคัญที่สุด จึงมุ่งเน้นการดำเนินการในระบบไฟฟ้าของ PEA โดยจะต้องมีความปลอดภัย มั่นคง มีเสถียรภาพที่ดี
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
จากการดำเนินธุรกิจของ PEA ที่มุ่งเน้นการจำหน่ายและให้บริการพลังงานไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพ โดยผ่านกระบวนการดำเนินงานขั้นตอนต่าง ๆ ที่ต้องอาศัยการใช้ทั้งทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานในรูปแบบต่าง ๆ
ความสำเร็จด้านความยั่งยืนของ PEA
รางวัลระดับประเทศ
รางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่นประจำปี 2565
PEA คว้ารางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น 5 ประเภท จากสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) ในงานมอบรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น (SOE Award) ประจำปี 2565 เพื่อเป็นกำลังใจให้รัฐวิสาหกิจทุกแห่ง ที่มีส่วนการพัฒนาประเทศ โดยพิจารณารางวัลแต่ละประเภทที่สะท้อนผลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ ที่โดดเด่นในแต่ละด้าน ส่งเสริมให้รัฐวิสาหกิจ มีความมุ่งมั่นการดำเนินงานเพื่อพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
รางวัลเกียรติคุณ Sustainability Disclosure Award ประจำปี 2565
PEA คว้ารางวัลเกียรติคุณ Sustainability Disclosure Award ประจำปี 2565 จากสถาบันไทยพัฒน์ ในงานประกาศผลของประชาคมการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน ประจำปี 2565 เพื่อเปิดเผยผลการดำเนินงานด้านความยั่งยืนขององค์กร ทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ตามมาตรฐานการรายงานสากล GRI Standards
การจัดอันดับเครดิตองค์กรที่ระดับ “AAA” (Triple A) ต่อเนื่อง 5 ปี ซึ่งเป็นระดับสูงที่สุดจาก บริษัท ทริสเรทติ้ง จำกัด
PEA ได้รับการจัดอันดับเครดิตองค์กร ที่ระดับ “AAA” เป็นปีที่ 5 ซึ่งเป็นระดับสูงที่สุดจาก บริษัท ทริสเรทติ้ง จำกัด โดยอันดับเครดิตดังกล่าวสะท้อนถึงสถานะของ PEA ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจสำคัญที่มีความเชื่อมโยงกับรัฐบาลไทยในระดับสูง และมีบทบาทสำคัญในการจำหน่ายกระแสไฟฟ้าทั่วประเทศไทย โดย PEA ยังคงรักษาสถานะทางการเงินและสภาพคล่องที่แข็งแกร่ง มีความสามารถในการรักษาผลการดำเนินงานที่ดี และ จะยังคงรักษาสถานะสภาพคล่องให้อยู่ในระดับสูงได้ต่อไป
การรับรองโครงการพัฒนาระบบการจัดการพลังงานมาตรฐานสากล ISO 50001เวอร์ชัน 2018 สำหรับอาคารสำนักงานใหญ่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
PEA รับมอบใบรับรองโครงการพัฒนาระบบการจัดการพลังงานมาตรฐานสากล ISO 50001 เวอร์ชัน 2018 สำหรับอาคารสำนักงานใหญ่ ซึ่งผ่านการรับรองจากสถาบันมาตรฐานอังกฤษ หรือ บีเอสไอ กรุ๊ป (ประเทศไทย) โดยการดำเนินการจัดการพลังงานตามมาตรฐาน ISO 50001 สามารถปรับปรุงสมรรถนะพลังงานให้ดีขึ้นคิดเป็นปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ประหยัดลงได้ 891,510 หน่วยต่อปี
รางวัลสุดยอดหน่วยงานรัฐด้านการอำนวยความสะดวกภาคธุรกิจ “สำเภา-นาวาทอง” ประจำปี 2565
PEA คว้าโล่รางวัล “สำเภา-นาวาทอง” ประจำปี 2565 ประเภทรางวัลหน่วยงานระดับกรม ที่จัดขึ้น
รางวัลรัฐบาลดิจิทัลประจำปี 2565 (Digital Government Awards 2022)
PEA คว้ารางวัล “หน่วยงานคุณภาพด้านบุคลากรดิจิทัล” โดยพิจารณาผลการประเมินทักษะดิจิทัลของบุคลากร การพัฒนาความสามารถของบุคลากรให้มีความตระหนักรู้ ความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
การรับรองระบบบริหารจัดการงานบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามมาตรฐานสากล ISO/IEC 20000-1 และใบรับรองระบบบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศตามมาตรฐานสากล ISO/IEC 27001:2013
PEA รับมอบใบรับรองระบบบริหารจัดการงานบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามมาตรฐานสากล ISO/IEC 20000-1 และใบรับรองระบบบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศตามมาตรฐานสากล ISO/IEC 27001:2013 ของ PEA เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการแก่กลุ่มลูกค้า รวมถึงให้ความสำคัญด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ทั้งในส่วนของความถูกต้องของข้อมูล ความพร้อมใช้ของระบบ และความลับของข้อมูล และสนับสนุนการดำเนินงานตาม พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ 2562
รางวัลศูนย์ราชการสะดวก (GECC) 124 แห่ง ประจำปี 2565
PEA คว้าโล่และตรารับรองมาตรฐานการให้บริการของศูนย์ราชการสะดวก (Government Easy Contact Center : GECC) ประจำปี 2565 จำนวน 124 แห่ง ประกอบด้วย ระดับก้าวหน้า 23 แห่ง และระดับพื้นฐาน 101 แห่ง โดยมีปัจจัยแห่งความสำเร็จที่ทำให้ PEA ผ่านการรับรองมาตรฐาน เกิดจากผู้บริหารระดับสูงมีนโยบายให้ความสำคัญกับการพัฒนางานบริการ ซึ่งกำหนดเป็นยุทธศาสตร์ขององค์กร ส่งผลต่อ การพัฒนาระบบการให้บริการอย่างต่อเนื่องและเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ
รางวัลองค์กรต้นแบบด้านสิทธิมนุษยชน ประจำปี 2565
PEA คว้ารางวัลองค์กรต้นแบบด้านสิทธิมนุษยชน ประจำปี 2565 ประเภทองค์กรรัฐวิสาหกิจดีเด่น จัดขึ้นโดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อมอบรางวัลองค์กรต้นแบบด้านสิทธิมนุษยชนให้กับองค์กรภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคธุรกิจ วิสาหกิจเพื่อสังคมและภาคประชาสังคมที่ผ่านการคัดเลือก รวมถึงเป็นแบบอย่างที่ดีให้องค์กรอื่น ๆ ในการเสริมสร้างสังคมแห่งการเคารพสิทธิมนุษยชนอย่างยั่งยืน
รางวัลองค์กรส่งเสริมคนดี คนเก่ง คนกล้า
PEA คว้ารางวัลองค์กรส่งเสริมคนดี คนเก่ง คนกล้า โดยรางวัลดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแรงกระตุ้น แรงบันดาลใจในการประพฤติ การปฏิบัติตนให้เป็นคนดี คนเก่ง คนกล้า ในชุมชนและประเทศ เป็นตัวอย่างการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความเพียบพร้อมทั้งความดี ความเก่งและความกล้าควบคู่กัน ตลอดจนเพื่อให้องค์กรภาครัฐ เอกชน ประชาชน ให้ความสำคัญต่อการสร้าง และพัฒนาคนไทยให้เป็นคนดี คนเก่งและคนกล้า ในสัดส่วนที่อัตราเชิงปริมาณและคุณภาพสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญและต่อเนื่อง
รางวัลบริการภาครัฐ ระดับดี ประเภทนวัตกรรมการบริการ และประเภทการพัฒนาการบริการ
PEA คว้ารางวัลบริการภาครัฐ ระดับดี ประเภทนวัตกรรมการบริการ จากผลงานระบบตรวจสอบและติดตามข้อมูลผู้ใช้ไฟฟ้ารายใหญ่ (LCIM) และประเภทการพัฒนาการบริการ จากผลงาน ONE CLICK แค่คลิก ก็ติด (มิเตอร์) แล้ว
การรับรองระบบการจัดการนวัตกรรม มาตรฐานสากล ISO56002:2019 แห่งแรกของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ
PEA ได้รับการรับรองระบบการจัดการนวัตกรรมมาตรฐานสากล ISO56002:2019 Innovation Management System จากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) เป็นระบบที่ถูกพัฒนาเพิ่มเติมจากระบบ CEN/TS 16555-1:2013 ซึ่งเป็นมาตรฐานการดำเนินงานด้านนวัตกรรมแบบหนึ่งที่ถูกใช้อยู่ในภูมิภาคยุโรป เพื่อให้สามารถเป็นมาตรฐานที่แพร่หลายและเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ถือเป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ แห่งแรกในประเทศไทยที่ได้รับการรับรองมาตรฐานดังกล่าว ซึ่งแสดงให้เห็นถึงจุดแข็งของระบบการจัดการนวัตกรรมของ PEA ที่ได้มาตรฐาน
ผลคะแนน ITA ประจำปี 2565 ระดับ AA ต่อเนื่อง 3 ปีซ้อน
PEA คว้ารางวัลประกาศเกียรติคุณเชิดชูเกียรติ ITA Awards 2022 ได้รับผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) 97.37 คะแนน ระดับ AA ต่อเนื่อง 3 ปีซ้อน โดย PEA ได้อันดับที่ 1 ของรัฐวิสาหกิจสาขาพลังงาน อันดับที่ 4 ของกระทรวงมหาดไทย และอันดับที่ 6 ของรัฐวิสาหกิจทั้งหมด ที่เข้ารับการประเมิน PEA เข้าร่วมประเมิน ITA ตั้งแต่ปี 2557 จนถึงปัจจุบัน
โล่เกียรติยศองค์กรดีเด่นด้านการต่อต้านการทุจริต ประจำปี 2565
PEA คว้าโล่เกียรติยศองค์กรต่อต้านดีเด่นด้านการต่อต้านการทุจริต ประจำปี 2565 จากการผสานความร่วมมือที่จะป้องกันและต่อต้านการทุจริตตามระบบธรรมาภิบาลดำเนินการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปลูกฝังความซื่อสัตย์สุจริตให้กับพนักงานและลูกจ้างของ PEA รวมถึง เยาวชน และประชาชนของชาติ โดยการขับเคลื่อน “โครงการ PEA หมู่บ้านช่อสะอาด” ผ่านกิจกรรมด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม (CSR) ของ PEA
รางวัลระดับนานาชาติ
รางวัล Asia Responsible Enterprise Awards 2022 (AREA) 4 ปีซ้อน
PEA คว้ารับรางวัล Asia Responsible Enterprise Awards 2022 (AREA) เป็นปีที่ 4 จัดขึ้นโดย Enterprise Asia องค์กรพัฒนาเอกชนชั้นนำที่ส่งเสริมศักยภาพผู้ประกอบการที่มีความรับผิดชอบในเอเชีย คัดเลือกและมอบรางวัลเป็นเกียรติแก่ผู้ประกอบการที่มีผลงานโดดเด่นด้านการรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน เพื่อแสดงความเป็นผู้นำด้านความยั่งยืน สร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับนานาชาติ สำหรับในปีนี้ PEA ได้รับรางวัล Asia Responsible Enterprise Awards 2022 (AREA)
รางวัล HR Asia Best Companies to Work for in Asia 2022 (Thailand Edition)
PEA คว้ารางวัล HR Asia Best Companies to Work for in Asia 2022 (Thailand Edition) เป็นรางวัลในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยพิจารณาจากการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่องในการบริหารงานบุคคล โดยดำเนินการ สร้างระบบงานและกลไก เพื่อนำศักยภาพของพนักงานมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร พัฒนาทักษะพนักงานด้านความรู้ (Hard Skills) และด้านอารมณ์ (Soft Skills) ส่งเสริมการสร้างและขยายผล การใช้งานนวัตกรรมอย่างเป็นระบบ และสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรให้มี Productivity สูงขึ้น